2537โดยมีสาระสำคัญว่า“ลูกจ้างประจำออกจากราชการเมื่อพ้นจากราชการตามระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยบําเหน็จลูกจ้างฯ..”ซึ่ง ตามข้อ 6 แห่งระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยบำเหน็จลูกจ้าง พ.ศ. ต้องสอบถามเขตพื้นที่นะค่ะ…แต่ถ้าเป็นมหาวิทยาลัยแล้ว ปัจจุบัน คปร. ไม่ให้รับโอนจากหน่วยงานอื่นค่ะ นอกจากรับโอนได้จากมหาวิทยาลัยด้วยกัน เช่น มหาวิทยาลัย (เดิม) หรือ มหาวิทยาลัยราชภัฏ หรือมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล เท่านั้นค่ะ…
การเปลี่ยนตำแหน่งใด ๆ น่าจะต้องรอหนังสือของ สพฐ.แจ้งว่าสำนักงาน ก.พ. รับรองมาแล้วค่ะ…ต้องฟังคำสั่งจาก สพฐ. การเทียบค่าจ้างได้เท่าเดิมค่ะ…จะค่อย ๆ เพิ่มขึ้น จนถึงเพดานสูงสุดของกลุ่ม 1 ก่อนแล้วจึงปรับเข้าสู่กลุ่ม 2 ค่ะ…
สำหรับกรณีที่คุณยังไม่เคยทำหน้าที่ดังกล่าวข้างต้น ส่วนราชการอาจกำหนดภาระงานให้คุณ แล้วทำการสอบคัดเลือกก็ได้ค่ะ… การทำงานเกี่ยวกับบุคคล เป็นงานที่เกี่ยวกับสิทธิประโยชน์ของบุคลากรของส่วนราชการ ทุกประเภทจะต้องมีความเทียมเทียมกันเพราะไม่เช่นนั้น ในอนาคตมีการขึ้นศาลปกครองได้ค่ะ เพียงแต่ผู้ใต้บังคับบัญชายังรู้กฎหมายไม่มาก ถ้าบางส่วนราชการไปพบเจอบุคคลที่เรียกว่า รู้กฎหมายมาก ๆ ถึงกับมีการขึ้นศาลปกครองได้ค่ะ เพราะในระดับ ม. ให้ดูระเบียบดี ๆ นะค่ะ ว่าใช้ในกรณี นับเวลาการปฏิบัติงานทวีคูณ ในช่วงเวลาใด ใช้ในตอนเกษียณหรือไม่ เพราะการนับเวลาปกติ ส่วนมากเขาจะไม่ทำกัน จะนับให้ก็ต่อเมื่อเกษียณไงค่ะ…ลองศึกษาดูนะค่ะ เพราะผู้เขียนยังไม่ได้ศึกษาในเรื่องนี้ ช่วงนี้งานมากค่ะ…
ร.ท.หญิง สุณิสา กล่าวอีกว่า ปัจจุบันเจ้าหน้าที่กลุ่มดังกล่าวมีประมาณ 65,172 คน ต้องใช้งบประมาณจำนวน 3,300.82 ล้านบาท ซึ่งในจำนวนนี้มีบุคลากรที่ต้องลงไปปฏิบัติงานในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ตามนโยบายสร้างสันติสุขภาคใต้ของรัฐบาล จำนวน 2,040 อัตรา ทั้งนี้ ขอให้ หน่วยงานต่าง ๆ ที่มีเจ้าหน้าที่หรือลูกจ้าง ที่ได้รับค่าจ้าง ในลักษณะจ้างเหมา พิจารณาความจำเป็นหากต้องปรับค่าตอบแทนให้สอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาล และเสนอความต้องการผ่านคณะกรรมการระดับชาติ เพื่อขอความเห็นชอบจากครม.ต่อไป. การเปลี่ยนระดับชั้น ถ้าเดิมอยู่ชั้น 2 ก็ต้องค่อย ๆ เปลี่ยน เป็นชั้น 3 และชั้น 4 ตามลำดับค่ะ ไม่กระโดดข้ามไปนะค่ะ…เพียงแต่เปิดเพดานค่าจ้างให้สูงขึ้นค่ะ ค่อย ๆ ไต่ไปค่ะ…อยู่ที่ส่วนราชการด้วยนะค่ะ ให้ปรึกษาหัวหน้าส่วนราชการว่าสามารถทำได้ค่ะ… ต้องถามหัวหน้าส่วนราชการด้วยค่ะ…ถ้าเข้าใจตรงกันก็สามารถทำได้ค่ะ เพราะเรา สามารถพัฒนาและมีความก้าวหน้าด้วยตัวของเราเองค่ะ…ต้องเป็นไปตามคุณสมบัติการเปลี่ยนตำแหน่งที่ไปด้วยนะค่ะ…และหน้าที่ที่เราได้ปฏิบัติอยู่ด้วยค่ะ…(ถ้าเปลี่ยนได้แล้ว ก็อยู่ที่ค่าจ้างเราจะPass ไปตรงค่าจ้างชั้น 3 ที่ใกล้เคียงกันกับตำแหน่งเดิม แต่สูงกว่าตำแหน่งเดิม ในกรณีได้ 2 หรือ four % ก็สามารถเลื่อนขั้นขึ้นไปได้อีก 0.5 หรือ 1 ขั้น ตามลำดับค่ะ)…
เมื่อไหรสงสัยแล้วจะเข้ามาถามใหม่นะค่ะ… การใช้บัญชีอัตราค่าจ้างลูกจ้างของส่วนราชการใหม่ 5 % ตามบล็อกด้านล่างนี้นะค่ะ… แต่ในความคิดเห็นของผู้เขียนที่เคยผ่าน ๆ มา การนับเวลาทวีคูณ เขาจะนับให้ตอนเกษียณอายุราชการเท่านั้น สำหรับการขอปรับระดับชั้นงานนั้น ไม่นับค่ะ ให้นับในเวลาปกตินี้เท่านั้นค่ะ… เวลาจะขอปรับเปลี่ยนตำแหน่ง ขอให้ดูให้ดี ๆ นะค่ะ ว่าตำแหน่งใหม่ที่จะขอปรับเปลี่ยนนั้น ชื่อเต็ม ที่ถูกต้องของตำแหน่งนั้น คือ ตำแหน่งใด เพราะถ้าพิมพ์ผิดจะทำให้เกิดการสับสนและความวุ่นวายจะตามมาค่ะ… ผู้เขียนก็น้อมขอพรจากสิ่งศักดิ์สิทธิ์ของเมืองพิษณุโลก เช่น พระพุทธชินราช สมเด็จพระนเรศวรมหาราช สมเด็จพระเอกาทศรถ สมเด็จพระสุพรรณกัลยา ฯลฯ จงดลบันดาลให้คุณและครอบครัวพบแต่ความสุข สมหวังตลอดปี 2554 และตลอดไปด้วยค่ะ…
ที่พูดมาทั้งหมด จะเป็นลูกจ้างประจำของส่วนราชการนะค่ะ…ถ้าเป็นท้องถิ่น ไม่ใช่ค่ะ… แจ้งเวียนหนังสือให้ทราบเรื่องกรอบอัตรากำลัง ภายในเดือนพฤษภาคม 2553 นี้ค่ะ… ลองศึกษาไฟล์ด้านล่างนี้ดูนะคะ และค่อย ๆ ศึกษาค่ะ จากบล็อกด้านบนเป็นเรื่องใหม่สุดค่ะ… ให้ศึกษาเรื่องการปรับเข้าสู่ตำแหน่ง ซึ่ง ก.พ.
2553 แล้ว ให้สอบถามว่าจะให้คุณดำเนินการเปลี่ยนได้เมื่อใด…เสียดายโอกาสที่คุณสามารถเปลี่ยนตำแหน่งได้แล้วตั้งแต่แรกก่อนที่จะมีการเปลี่ยนระบบลูกจ้างประจำ…ถ้ามีคำสั่งแล้วคุณปฏิบัติได้จริงตามนั้น คุณก็สามารถที่จะเปลี่ยนตำแหน่งเป็นพนักงานเก็บเอกสารได้…ขอให้ดูหน้าที่ที่แต่งตั้งให้ละเอียด + ศึกษาหน้าที่ (โดยย่อ) ที่ ก.พ. กำหนดให้ ให้ละเอียดชัดเจน จะได้ทำให้ไม่เสียสิทธิ์ที่คุณควรพึงได้รับการแต่งตั้ง…ขอบคุณค่ะ… (แต่ต้องถามแบบข้างต้นนะค่ะ เกรงว่าจะเข้าใจไม่ตรงกันค่ะ)… ขอให้คุณศึกษารายละเอียดตามเว็บไซต์ หัวข้อ ด้านล่างนี้นะค่ะ เพราะผู้เขียนนำเรื่องปัจจุบันลงไว้ให้ทราบแล้วค่ะ…และสามารถดูค่าจ้างเทียบกับปัจจุบันได้เลยค่ะ… สำหรับการเปลี่ยนเป็นพนักงานการเงินและบัญชี ให้คุณดูคุณสมบัติเฉพาะตำแหน่งในการเปลี่ยนเป็นพนักงานการเงินและบัญชี รหัส 2101 ให้ละเอียดนะค่ะ ว่าคุณมีคุณสมบัติได้หรือไม่ เพราะที่แจ้งมาไม่ละเอียดค่ะ…จึงไม่สามารถบอกได้ว่าได้หรือไม่ อาจจะเกี่ยวเนื่องกับที่คุณต้องไปเริ่มที่ตำแหน่งพนักงานการเงินและบัญชี ระดับ 1 ใหม่ และปกติคุณก็ตำแหน่งพนักงานพิมพ์ ระดับ three กลุ่มงานสนับสนุนเหมือนกัน จะทำให้ดูเหมือนว่าคุณถอยหลังไป ลองศึกษาตามเว็บไซต์ด้านล่างนี้นะค่ะ… สำหรับการปรับเปลี่ยนตำแหน่งของลูกจ้างประจำในตอนนี้…เช่นการเปลี่ยตำแหน่ง เปลี่ยนระดับชั้นให้สูงขึ้น นั้น…เมื่อวานผู้เขียนได้คุยทางโทรศัพท์กับเจ้าหน้าที่ของกรมบัญชีกลาง ท่านแจ้งมาว่า ตามที่สำนักงาน ก.พ.
สิ่งหนึ่งที่ผู้เขียนต้องการมอบให้ พวกเราทุกคนค่ะ เลยมาชวนไปดูค่ะ… ให้ปรึกษาหัวหน้าส่วนราชการ + เจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบเรื่องบุคคล ดูก่อนค่ะ… ต้องคอยดูระเบียบที่ออกมาใช้บังคับให้ปฏิบัติก็แล้วกันนะค่ะ…
แจ้งมาใหม่ ก็ไม่มีตำแหน่งของคุณเดิมนะค่ะ…เลยไม่แน่ใจว่าตำแหน่งใดกันแน่…ลองศึกษาตามไฟล์ด้านล่างนี้นะค่ะ… การทำงานบุคคล เท่าที่ผ่านมา จะเป็นการทำงานแบบงานประจำ คือ งานธุรการ แต่ในอนาคตเป็นการทำงานแบบเชิงรุก ต้องทำทุกรูปแบบที่จะให้ส่วนราชการอยู่รอดได้ค่ะ (นี่คือ การบริหารงานภาครัฐเกี่ยวกับเรื่องบุคคลแนวใหม่)…ผู้เขียนยังคิดอยู่เสมอว่า ถ้าเจ้าหน้าที่งานบุคคลยังทำแบบนี้ ก็ไม่แตกต่างกับการทำงานแบบเดิม ๆ ไม่มีการทำงานแบบเชิงรุก ไม่เสาะหาความรู้ ไม่มีการพัฒนาตนเอง ยังคิดว่า ประเทศไทยจะไปถึงไหนกันหนอ… อย่าลืมว่า…ตั้งแต่ปี 2535 เป็นต้นมา ตั้งแต่ประเทศไทยได้กู้เงินจาก IMF…ซึ่งเงื่อนไขในการกู้เงินจาก IMF…ระบุไว้ว่า ถ้าประเทศไทยจะกู้เงินจากต่างประเทศได้ ประเทศไทยต้องลดอัตรากำลังข้าราชการที่เพิ่มขึ้นในทุก ๆ ปี ให้ได้…ถึงแม้การใช้หนี้ IMF.
2.จะได้ปรับตำแหน่งเหมือนกับกระทรวงอื่นๆหรือเปล่าถ้าปรับแล้วจะอยู่ในกลุ่มใดครับ3. ทั่วโลกใช้งาน 5 จี เพิ่มวันละ 1 ล้านคน !! คนไทยไม่น้อยหน้าสิ้นปีนี้ทะลุ 5 ล้านคน โลกได้เดินหน้าเข้าสู่ยุค 5 จี อย่างเต็มตัวแล้ว เมื่อผู้ให้บริการโทรศัพท์มือถือ หรือ โอปอเรเตอร์ ทั่วโลก… “ครม.” ไฟเขียวเพิ่มเงินเดือน 9,000 และ 15,000 บาท “ภารโรง-ลูกจ้าง” สังกัดสพฐ.
มีอีกวิธีหนึ่งค่ะ ให้สอบถามไปที่กรมบัญชีกลาง ดูนะค่ะ เพื่อเจ้าหน้าที่ของกรมบัญชีกลางจะได้ชี้แนะได้บ้างค่ะ…ได้ผลอย่างไร แจ้งให้พี่ทราบด้วยในกระทู้นี้นะค่ะ เพื่อบอกให้เพื่อน ๆ ได้ทราบข่าวความเคลื่อนไหวไงค่ะ… ของข้าราชการเพิ่งจะประกาศในกฤษฎีกา ของลูกจ้างประจำคงต้องรอนะค่ะ เพราะพนักงานราชการก็ออกมาใช้แล้ว อาจไม่เกินเดือนเมษายน 2554 นี้หรอกค่ะ ถ้ามีจะรีบนำมาแจ้งให้ทราบนะค่ะ… เพราะบางครั้ง มีลูกจ้างฯ ไปถาม แต่ก็ยังบอกไม่ได้ ไม่ทราบ ไม่รู้…ถ้าไม่ทราบก็ต้องศึกษา หาความรู้จากส่วนราชการอื่น…ไม่ใช่บอกปัด แล้วไม่ตอบทำให้ลูกจ้างเกิดความงง และจะกลายเป็นผลเสียในอนาคตได้ค่ะ… ลองสอบถามหัวหน้าส่วนราชการดูนะค่ะ ว่าใช่หรือไม่ ถ้าใช่ แล้วถามว่า ตำแหน่งของคุณสามารถปรับเปลี่ยนได้หรือไม่ หรือศึกษาในกระทู้ที่พวกเพื่อน ๆ ได้ถามมาก็ได้ค่ะ…ขอบคุณค่ะ… เป็นการขยายกลุ่มบัญชีค่าจ้างให้ แต่เงินค่าจ้างก็ไปรับที่กลุ่ม 1 จนเต็มเพดานค่ะ ถึงจะปรับเปลี่ยนไปที่กลุ่ม 2 เพราะผู้เขียนได้สอบถามที่กรมบัญชีกลางให้แล้วค่ะ…
ตอบแล้วค่ะ…เพราะปัจจุบัน ของมหาวิทยาลัยที่ทำงานอยู่ ทาง ก.พ. แจ้งว่า ให้รอก่อนค่ะ เพราะต้องเห็นใจ สำนักงาน ก.พ. ไม่ได้ทำให้เราหน่วยงานเดียว ทั้งประเทศนะค่ะ…หน่วยงานก็เยอะ ต้องอดใจรอค่ะ…
สำหรับช่วงเวลาของการเป็นลูกจ้างประจำ ก็จะได้สิทธิ ตามระเบียบของลูกจ้างประจำค่ะ…เป็นคนละส่วนกันค่ะ… นะค่ะ…เพราะเข้าเกณฑ์ในข้อ 4 ก็สามารถปรับได้ค่ะ แต่งานที่ทำอยู่ต้องเป็นงานธุรการนะค่ะ…ไม่ใช่เป็นพนักงานพิมพ์อย่างเดียว… AWAKE ดับฝันวันสิ้นโลก สัปดาห์นี้ ดูหนังกับหมี รีวิวภาพยนตร์เรื่องใหม่จาก Netflix ที่จะทำให้ทุกคนต้องหวนกลับมาดูการนอนหลับของตัวเอง ว่าเวลาที่นอนนั้นเพียงพอต่อความต้องการของร่างกายแล้วหรือไม่ใน “… AWAKE ดับฝันวันสิ้นโลก…” ข้าราชการ(นักภารโรง)ที่เกษียณแล้ว สามารถขายบ้าน+ที่ตัวเองได้ไหมครับ(เป็นที่ของโรงเรียน) ข้าราชการ(นักการภารโรง)ที่เกษียณอายุราชการแล้ว เขาสามารถขายบ้าน+ที่ของตัวเองได้ไหมครับ(เป็นที่ของโรงเรียน) เรื่องราว… ข้าราชการ(นักการภารโรง)ท่านนี้ มาบรรจุอยู่ที่โรงเรียนแห่งนี้ เมื่อประมาณปีพ.ศ.
สำหรับคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่งกระทรวงการคลังจะเป็นผู้กำหนดค่ะ…ทางกระทรวงการคลังคงจะมีเหตุผลในการปรับนะค่ะ…การปรับชั้น 3 เป็น 4 ในตำแหน่งพนักงานพิมพ์นั้น ต้องขอทำความตกลงกับสำนักงาน ก.พ. ด้วยค่ะ…สำหรับการปรับเปลี่ยนตำแหน่งต้องศึกษาเพิ่มเติมจากหนังสือสำนักงาน ก.พ. เกณฑ์การย้ายของลูกจ้างประจำ พี่ก็ไม่เคยเห็นนะค่ะ…แต่ถ้าเป็นข้าราชการ มีค่ะ…แต่การย้ายถ้าคุณเป็นข้าราชการ การย้ายมีหลายกรณีค่ะ…ย้ายกลับภูมิลำเนา ย้ายอยู่รวมกับคู่สมรส (ต้องมีใบทะเบียนสมรสค่ะ แนบค่ะ)…ย้ายดูแลบิดามารดา…ฯลฯ…แต่การอนุมัติขึ้นอยู่กับส่วนราชการที่ให้ไป + ส่วนราชการที่รับย้ายค่ะ…
เหตุที่ผู้เขียนต้องมานั่งตอบ มาบอก เพียงเพื่อ “ให้ทราบว่าโลกปัจจุบันเขาไปถึงไหนกันแล้ว มีการเปลี่ยนแปลงต่อบ้านเมืองและระบบราชการมากมาย แต่บางคนก็มิได้ศึกษา แต่อยู่เพื่อรับเงินเดือนไปวัน ๆ ไม่สมกับตนเองได้รับเงินเดือน เงินประจำตำแหน่งกันเลย ไม่คิดถึง คำว่า “ข้าราชการ” ที่ดีมากนัก น่าสงสารประเทศชาติจังค่ะ… สำหรับคนที่ไม่ใช่เจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบ เป็นผู้ที่ต้องการปรับเปลี่ยนตำแหน่ง จะต้องทำอย่างไรนั้น…ผู้เขียนขอบอกว่าให้เตรียมตัว “อ่านหนังสืองานสารบรรณ หรือเรื่องที่ส่วนราชการต้องการสอบเพื่อคัดเลือกท่าน” เท่านั้นเองค่ะ…สอบให้ผ่านตามที่ผู้เขียนบอกข้างต้นค่ะ… จากข้อ 2 สามารถทำเรื่องไปที่ กลุ่มงานบุคคลของ สพท. ก่อนนะค่ะ…เพราะเขาเป็นส่วนราชการที่ต้องดูแลกลุ่มลูกจ้างประจำอยู่…ปรึกษาเขาก่อนก็ได้ว่าเรามีคุณสมบัติครบ และเพื่อความก้าวหน้าของเราเอง…(เขาจะทำเรื่องไปที่ สพฐ. แล้ว สพฐ.จะนำเรื่องคุณเสนอให้ สำนักงาน ก.พ. เองค่ะ)… ถ้าจะไปอยู่กลุ่มที่ 2 ได้ คุณต้องมีการปรับเป็นพนักงานพิมพ์ ระดับ 3 ก่อนค่ะ อาจโดยการสอบคัดเลือก ซึ่งส่วนราชการจะเป็นผู้จัดสอบเกณฑ์ต้องเป็นไปตามคุณสมบัติเฉพาะตำแหน่งของพนักงานพิมพ์ ระดับ 3 นะค่ะ…เมื่อสอบได้และได้รับการแต่งตั้งเป็นพนักงานพิมพ์ ระดับ three แล้ว จึงจะสามารถไปยังกลุ่มที่ 2 ได้ค่ะ…(ตามเกณฑ์ที่สำนักงาน ก.พ. กำหนดค่ะ)…
ถ้าปรับเปลี่ยน น่าจะเป็นตำแหน่งช่างครุภัณฑ์ นะคะ…เพราะทำเกี่ยวกับเรื่องโสตทัศนศึกษาได้ ให้คลิกดูที่ไฟล์ด้านบน กลุ่มงานช่างค่ะ สำหรับเงินค่าจ้างนั้น ก็อยู่ในไฟล์นั้นอยู่แล้วค่ะ ศึกษาให้ละเอียดนะค่ะ แล้วจะทราบว่าควรเปลี่ยนหรือไม่… การที่เราจะขอเปลี่ยนตำแหน่งคงจะไม่ได้ ต้องปรึกษาที่ ผอ.และเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบในเรื่องนี้ก่อนค่ะว่าจะดำเนินการให้หรือไม่ เพราะเป็นอำนาจของส่วนราชการค่ะ…ถ้าทำให้หรือตกลงกันได้ก็สามารถทำได้ค่ะ…ความจริงแล้ว ทาง สพม. ต้องทำการชี้แจงให้ลูกจ้างประจำรับทราบค่ะว่าจะให้ดำเนินการอย่างไร… คุณลองศึกษาคุณสมบัติของตำแหน่งพนักงานพัสดุก่อนนะค่ะว่าทำได้หรือไม่…ถ้าทำได้ ก็ให้ดูภาระงานที่คุณได้ปฏิบัติ ถ้าได้ให้ปรึกษาเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบ + หัวหน้าส่วนราชการ และปรึกษาสำนักงาน ก.พ. ค่ะ ว่าได้หรือไม่…ถ้าได้ก็สามารถปรับเปลี่ยนได้ค่ะ…
สำหรับตำแหน่ง ขอให้บอกให้ชัดด้วยนะค่ะ ว่า ตำแหน่งใดแน่ ลองดูในมาตรฐานกำหนดตำแหน่งที่ผู้เขียนเขียนไว้สิค่ะ…หรือให้ดูในหมายเลข 96 ก็ได้ ลองศึกษาดูนะค่ะ…ผู้เขียนได้เขียนไว้หลายบล็อกค่ะ… ลองดูนะค่ะ…ถ้าสงสัยค่อยถามมาใหม่ค่ะ…เพราะเกรงว่าจะไม่ใช่ลูกจ้างประจำตามระเบียบดังกล่าวข้างต้นค่ะ… สำหรับการอยู่ในกลุ่มที่ เช่น กลุ่มที่ ถ้าปัจจุบันค่าจ้าง อยู่ที่กลุ่มที่ 2 ยังไม่สามารถเลื่อนไปที่ กลุ่มที่ 3 ได้เลย ต้องรอให้ค่าจ้างเต็มขั้นในกลุ่มที่ 2 ก่อนค่ะ จึงจะเลื่อนไปยังกลุ่มที่ three ได้ การเลื่อนไปยังกลุ่มที่ 3 จะเลื่อนได้ครั้งเดียว ในกรณีที่เต็มเพดานกลุ่มที่ 2 แล้วค่ะ…
สามารถเป็นระดับ three ได้เลยค่ะ…ค่าจ้างก็จะไต่ไปเรื่อย ๆ ค่ะ… ขอบคุณสำหรับคำอวยพรค่ะ…เช่นเดียวกันค่ะ ขอให้คำพรที่ให้มาก็ย้อนกลับคืนสู่คุณด้วยเช่นกันค่ะ… ก็เปลี่ยนตำแหน่งจากเดิมที่ใช้แรงงาน ก็เป็น พนักงานพิมพ์ ช่างครุภัณฑ์ แม่บ้าน ค่ะ… เหลือเพียงแต่จะปรับให้เปลี่ยนตำแหน่งใหม่ค่ะ แต่ก็ต้องดูที่การพัฒนาของแต่ละคนด้วยค่ะ ว่าจะได้หรือไม่… “AtomicPills”คาเฟ่สายหวาน แต่แคลลอรี่ต่ำ!
กำหนดให้ทำค่ะ…ลองดูนะค่ะ…อย่าลืมถามเจ้าหน้าที่เรื่องเงินเดือนใหม่ด้วยค่ะ เพราะจะพันมาถึงการเลื่อนขั้นค่าจ้างในวันที่ 1 ตุลาคม 2553 นี้นะค่ะ… ปัจจุบันเงินค่าจ้างจะอยู่ที่ ระดับ 2 เมื่อเงินเดือนเต็มแล้วไม่สามารถไหลไปที่ระดับ 3 ได้หรอกค่ะ เพราะปัจจุบันคุณอยู่ที่กลุ่มค่าจ้างกลุ่มที่ 1-2 เมื่อเงินเดือนเต็มแล้ว อยู่ที่ส่วนราชการและเจ้าหน้าที่จะเป็นผู้ดูให้คุณ อาจจะดำเนินการสอบเพื่อเลื่อนระดับให้กับคุณก็ได้ ข้อสอบที่ใช้สอบอาจเป็นลักษณะของ กฎหมาย ระเบียบที่คุณปฏิบัติเกี่ยวกับการเงินก็ได้ไงค่ะ… สำหรับข้อที่ว่า “เป็นผู้ผ่านการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานในระดับชั้นที่มีความสัมพันธ์กับหน้าที่ความรับผิดชอบ” นั้น…หมายถึง เราเคยได้รับการผ่านการทดสอบมาตรฐานจากกรมฝีมือแรงงานไงค่ะ…ที่กรมฝีมือแรงงาน เขาจะมีการทดสอบเกี่ยวกับ เช่น ช่างไม้ ช่างปูน ช่างยนต์ เขาจะมีใบรับรองว่าเราได้ผ่านการทดสอบมาตรฐานการทำงาน เช่น ช่างไม้ เมื่อเทียบกับตำแหน่งช่างไม้ของการทำงาน จะอยู่ในระดับชั้นใด ระบุไว้ค่ะ…เช่น การรับรองคนที่ไม่ได้จบการศึกษา ม.6 ปวช. หรือปริญญาตรี…เรียกว่าไม่ได้เรียนในระบบ… แต่เขามีความชำนาญในการทำงานด้านช่างไม้ ช่างปูน คนกลุ่มนี้ ก็ไปให้กรมฝีมือแรงงานรับรองการมีความชำนาญการของเขา…เพื่อรับรองคนกลุ่มนี้ไปทำงานด้านการก่อสร้างในต่างประเทศไงค่ะ…กรมฝีมือแรงงาน เป็นสถาบันอีกสถาบันหนึ่งที่รับรองความสามารถ ความชำนาญการ ของคนที่ไม่ได้เรียนในระบบ (เรียนโรงเรียนประถม มัธยม มหาวิทยาลัยค่ะ…)…เป็นการให้โอกาสผู้ที่ไม่สามารถเรียนในระบบได้ค่ะ… ก็ได้ค่ะ เกี่ยวกับการเป็นหัวหน้างาน เพราะในส่วนราชการของคุณที่พนักงานธุรการ เพียง 1 คน ผู้เขียนก็ไม่แน่ใจว่าจะได้หรือไม่ เพราะจากที่ศึกษาในหน้าที่นั้น เหมือนกับว่า ตำแหน่งดังกล่าวต้องเป็นตำแหน่งที่ให้หัวหน้ามีลูกน้องในหน่วยงานด้วยค่ะ ยกตัวอย่างเช่น ในส่วนราชการนั้นมีเจ้าหน้าที่ธุรการ หลายคน จึงจำเป็นต้องมีหัวหน้างาน (พนักงานธุรการ) เพื่อที่จะได้ประสานงานภายในงานธุรการได้ไงค่ะ…ลองสอบถามที่ ก.พ.
อ่าน “ส.ค.ส.2011 มอบแด่เพื่อนและสมาชิกที่อ่าน gotoknow ทุกท่าน” ได้จากบล็อกด้านล่างนี้ค่ะ… 2562 อดิศรโพสต์อย่าไปจูบกันให้นร.เห็น หลังทยายินดีณัฏฐพลนั่งศธ. ลงวันที่ 23 สิงหาคม 2553 เรื่องแก้ไขข้อคลาดเคลื่อน… ‘ยุทธพงศ์’เตรียมยื่นป.ป.ช.สอบ’ณัฏฐพล’ตั้งคนสนิทนั่งเลขาฯสกสค.
คุณสมบัติเฉพาะตำแหน่งของลูกจ้างประจำที่กระทรวงการคลังกำหนด ทุกกระทรวงใช้แนวทางเดียวกันหรือเปล่าคะ เช่น สพฐ. ถ้าเป็นอย่างที่บอกข้างต้น ก็สามารถปรับตำแหน่งใหม่ได้ ในระดับเดิมค่ะ… นะค่ะ ถ้าอยู่ในตำแหน่งระดับครุภัณฑ์ ระดับ three น่าจะอยู่ในกลุ่มบัญชีค่าจ้าง กลุ่มที่ 2-3 นะค่ะ… แต่ถ้าปัจจุบันส่วนกลางมอบอำนาจมาให้ส่วนราชการดำเนินการเองแล้ว ก็ดำเนินการประกาศ ฯ แบบที่พี่บอกข้างต้นนั่นแหล่ะค่ะ…
แล้วไปคลิกที่สารบัญด้านข่าวขวามือนะค่ะ… สำหรับจะปรับเข้าสู่ตำแหน่งพนักงานธุรการ ระดับ 3 ก็ขอให้คุณศึกษาหนังสือ ตามข้อ 1. และ /ว 14 คู่กันค่ะ…โดยต้องปฏิบัติหน้าที่ให้ได้ตามนี้ค่ะ… สำหรับพนักงานธุรการ คุณก็ต้องเคยได้ปฏิบัติงานสารบรรณมาพอสมควร เช่น สามารถร่างหนังสือโต้ตอบหนังสือราชการได้ การรับ – ส่ง หนังสือราชการ การเก็บรักษา การยืม การทำลายหนังสือในระดับหนึ่ง ให้ศึกษาคุณสมบัติเฉพาะตำแหน่งของพนักงานธุรการด้วยนะคะ…
ถ้าคุณสมบัติใหม่ไม่มีลูกน้องมาเกี่ยวข้องก็ไม่น่าจะต้องนำมาเป็นเกณฑ์นี่ค่ะ แต่ให้สอบถามเพื่อความถูกต้องอีกครั้งค่ะ… สำหรับผู้เขียนจะทำได้ก็อีกประมาณ eleven ปี ค่ะ เพราะถ้าเกษียณไปแล้ว ก็คงให้เด็ก ๆ รุ่นใหม่ มาทำแทนแล้วละค่ะ… ขอบคุณมากๆๆ เลยค่ะสำหรับคำตอบที่ช่วยคลายความสงสัยคะ…
สำหรับค่าจ้างใหม่ ถ้าเทียบเข้าสู่กลุ่มงาน คงยังไม่ได้หรอกค่ะ…จะได้ก็ตอนเลื่อนขั้น 1 ตุลาคม 2553 ค่ะ…สำหรับการเปลี่ยนตำแหน่งนั้น คุณต้องมีหน้าที่ทำงานตามคุณสมบัติเฉพาะตำแหน่งที่จะปรับเปลี่ยนด้วยนะค่ะ…ถ้าภาระงานไม่มี ก็ไปตำแหน่งนั้นไม่ได้ค่ะ…คุณลองศึกษาตามบล็อกด้านล่างนี้ด้วยนะค่ะ… ค่ะก็ขอแสดงความยินดีด้วยนะค่ะ…ได้แน่ค่ะ…แต่ต้องรอให้กระบวนการเรียบร้อยก่อนนะค่ะ…ของที่ ม. ผู้เขียน ลูกจ้างประจำก็ได้รับทราบกันเรียบร้อยแล้วค่ะ…แต่ขอฝากเรื่องการพัฒนาตนเองด้วยนะค่ะ…ถ้าเราพัฒนาความรู้ พัฒนางานของเราให้ดีขึ้น…รัฐไม่ทิ้งท่านหรอกค่ะ…เพียงแต่บางครั้งต้องรอเวลาค่ะ…จะให้ได้ดังใจเราไม่ได้หรอกค่ะ… ขอบคุณค่ะ เป็นหน้าที่ของผู้เขียนอยู่แล้วค่ะ ในเมื่อรู้ ก็ต้องการให้ทุกคน ได้รู้เหมือน ๆ กับที่เรารู้ เพราะปัจจุบันเป็นโลกของการจัดการความรู้จริง ๆ อยู่ที่ใครจะอุทิศหรือสละเวลาให้กับประเทศชาติได้มากน้อยเพียงใด ขึ้นอยู่กับจิตใต้สำนึกของการเป็นข้าราชการจริง ๆ ค่ะ ผู้เขียนเพียงอยากเห็นการพัฒนาของประเทศเป็นไปอย่างจริงจัง การพัฒนานั้น ต้องมาจาก “คน” ก่อน ในเมื่อคนมีการพัฒนาแล้ว ต่อ ๆ ไป ก็จะพัฒนาตามกันมาเองค่ะ…
อีกอย่างการทำงานในปัจจุบัน ควรลดเรื่อง “อำนาจ” ได้แล้ว ควรทำงานที่เป็นไปตามภาควิชาการจริง ๆ คือ “การทำงานเป็นทีม”…การทำงานตามหน้าที่ ตามตำแหน่งที่ได้รับผิดชอบ ฯลฯ ข้อสำคัญ การทำงานภาคราชการ ต้องไม่เลือกปฏิบัติที่จะทำ ยิ่งเป็นผู้บังคับบัญชาของคนในสังกัด ยิ่งต้องดูแลให้ทั่วถึง ไม่ควรเลือกปฏิบัติ เพราะเขาทำงาน เขาก็ต้องต้องการขวัญ กำลังใจ + ความสุขในการทำงานกันทุกคน อย่าลืมว่า!!! ปัจจุบันตำแหน่งนักการภารโรง ในส่วนราชการอื่น ๆ เขาก็ปรับเป็นตำแหน่งอื่นกันแล้ว เช่น เดิมตำแหน่งนักการภารโรง ถ้าทำงานธุรการของโรงเรียนได้ ส่วนราชการก็จะปรับให้เป็นพนักงานธุรการ หรือถ้าพิมพ์คอมฯ ได้ ก็จะปรับให้เป็นพนักงานพิมพ์ ฯลฯ กันค่ะ เพราะตำแหน่งดังกล่าวจะสามารถปรับเลื่อนระดับเป็นระดับ 1, 2 ,3 หรือ four กันได้ ซึ่งทำให้มีการเพิ่มขั้นค่าจ้างกันด้วยไงค่ะ… ตำแหน่งช่างเครื่องมือกล ระดับ 2 นั้น อยู่กลุ่มบัญชีที่ 1-2 ค่ะ สำหรับการเลื่อนขั้นค่าจ้างนั้นจะต้องเลื่อนให้เต็มขั้นกลุ่มบัญชีที่ 1 ก่อน จึงจะสามารถเลื่อนไปยังกลุ่มบัญชีที่ 2 ได้ค่ะ ลองศึกษาที่รหัส 3314 ด้านล่างนี้ดูนะคะ…
ถ้าตัน คงต้องปรับเปลี่ยนเป็นตำแหน่งอื่นหรือเปล่า แต่ก็ต้องเป็นงานที่เราได้ปฏิบัติอยู่ด้วยนะคะ… การที่จะไปยังบัญชีกลุ่ม 2 นั้น ก็ต้องได้ขั้นค่าจ้างเต็มขั้นของกลุ่มบัญชี 1 ก่อนค่ะ… คงต้องขึ้นอยู่กับ “จิตใต้สำนึก” ของข้าราชการแต่ละคนแล้วละค่ะ…
แต่ปัจจุบัน รัฐได้ดำเนินการให้แล้ว แต่ขึ้นอยู่กับศักยภาพของแต่ละบุคคลนะค่ะที่จะปรับเปลี่ยนตำแหน่งใหม่ค่ะ… ตอนนี้ ก็ได้เพียงแต่ข่าวนะค่ะ ว่าจะได้ประมาณสิ้น ธ.ค.นี้ แต่ก็ยังเป็นเพียงข่าวเท่านั้นค่ะ ระเบียบที่ประกาศใช้ยังไม่มีนะค่ะ ถ้ามีผู้เขียนจะนำมาแจ้งให้ทราบอีกครั้งค่ะ… ถ้าพูดถึงตามหนังสือของกระทรวงการคลัง และกรมบัญชีกลาง ตามไฟล์ด้านล่างนี้ ก็ยังถือว่าให้หน่วยงานปฏิบัติอยู่นี่ค่ะ… four % ให้กับลูกจ้างที่มีค่าจ้างเต็มขั้น อาจจะรอหนังสือจาก ก.พ. + กรมบัญชีกลาง ครั้งเดียว แล้วก็ทำการเลื่อนขั้นค่าจ้างให้ค่ะ…
คุณสมบัติให้ใช้ข้อใดข้อหนึ่งค่ะ เพราะมีคำว่าหรือ… เพื่อที่ทางลูกจ้างทางนี้จะได้รับความรู้และการช่วยเหลือที่ดีเยี่ยมจากอาจารย์… แต่ถ้ายังต้องการ ก็โพสต์เข้ามาถามใหม่ก็ได้ค่ะ จะได้ส่งให้ค่ะ… กำหนดตำแหน่งใหม่หรือไม่…ถ้าทำแบบเดิม ก็ไม่สามารถทำได้ค่ะ… ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ไฟล์ด้านล่างนี้ค่ะ… ปัจจุบันสามารถได้รับบำเหน็จรายเดือนได้แล้วค่ะ ตามไฟล์ด้านล่างนี้นะค่ะ…
ไม่ทราบว่าลูกจ้างประจำของสังกัดกระทรวงกลาโหม ใช้ระเบียบลูกจ้างประจำของส่วนราชการ พ.ศ. 2537 หรือไม่ค่ะ ถ้าใช้ ก็น่าจะปรับเปลี่ยนเหมือนเช่นที่ผู้เขียนบอกค่ะ…แต่ถ้าไม่ใช่ต้องสอบถามที่หัวหน้าส่วนราชการ + เจ้าหน้าที่งานการเจ้าหน้าที่ดูนะค่ะ…เพราะต้องเข้าใจว่า บางครั้งกฎหมายราชการมีมากมายเหลือเกินค่ะ เกินว่าที่ผู้เขียนจะทราบหมดทุกเรื่องค่ะ… แจ้งมาไม่มีตำแหน่งเจ้าหน้าที่จัดเก็บรายได้…ซึ่งสำนักงาน ก.พ. ก็ได้แจ้งให้ทราบตามหนังสือ ในไฟล์ด้านล่างนี้ (ข้อ 2) แต่บัดนี้ล่วงเลยเวลามานานแล้ว…ขอให้คุณติดต่อสำนักงาน ก.พ. ตามเบอร์โทร.ในหนังสือด้านล่างนี้นะค่ะ…ประสานกับเจ้าหน้าที่ที่ทำเรื่องนี้ ว่าจะให้ดำเนินการอย่างไรต่อไป…ถ้าเขาแจ้งให้ทำไปเพิ่มเติม เราก็แจ้งไปได้ค่ะ…ถ้าเขาบอกไม่ได้ ถามเขาว่ามีวิธีใดบ้างที่จะแก้ปัญหา…และเตรียมเหตุผลที่จะตอบเจ้าหน้าที่ด้วยนะค่ะว่า ทำไมไม่ทำในตอนที่สำนักงาน ก.พ.
ให้เปลี่ยนตำแหน่งได้นั้น…ขอให้ทุกท่านรอหนังสือจากกระทรวงการคลัง แจ้งมาให้ทราบเกี่ยวกับเรื่องวิธีการ หลักเกณฑ์ การเข้าสู่ตำแหน่งของลูกจ้างประจำก่อนนะค่ะ…ส่วนราชการต้องชะลอไปก่อน จนกว่าจะมีหนังสือจากกระทรวงการคลัง แจ้งมาให้ทราบอีกครั้งค่ะ… อยากเรียนถามอาจารย์ว่า ดิฉันทำงานมา 12 ปีแล้วค่ะ ในตำแหน่ง เจ้าหน้าที่ธุรการ อบต. และกำลังจะปรับปรุงตำแหน่งเป็นจพง.ธุรการ ทำไมเงินค่าจ้างจึงไม่เปลี่ยนกลุ่มใหม่ค่ะ และเรียนจบ ป.ตรีแล้วค่ะ ไม่เข้าใจเลย การที่แบ่งหมวดต่าง ๆ ไม่เข้าใจเลยอย่างของดิฉันปรับปรุงหรือเปลี่ยนหมวดได้ไหมค่ะ ไม่เข้าใจเลยลูกจ้างประจำเป็นอย่างไรทำไมคนไม่เคยเห็นความสำคัญเลย ทำงานก็เหมือนกับข้าราชการส่วนท้องถิ่น แต่กลับถูกมองข้ามความสำคัญ ถูกดูถูกจากพนักงานส่วนตำบลมากจนถึงปลัด อบต. ก่อนอื่น ต้องขอทราบว่า คุณคือ ลูกจ้างประจำ ที่ใช้ระเบียบของลูกจ้างประจำของส่วนราชการ พ.ศ. 2537 หรือไม่ ถ้าใช่ สงสัยเรื่องเงินเดือนของคุณนะค่ะว่า ทำไมได้รับเพียง 4,800 บาท เพราะในระเบียบเขาจะกำหนดขั้นต่ำไว้ที่ 5,080 หรือไงนี่แหล่ะค่ะ ให้ดูตามไฟล์ด้านล่าง ลองคลิกดูนะค่ะ รหัส พนักงานบริการ คือ 1117 ค่ะ เลื่อน curser ลงไปที่รหัสดังกล่าวนะค่ะ ทั้ง 2 ไฟล์ จะทำให้ทราบเรื่องขั้นค่าจ้างขั้นต่ำ – ขั้นสูง และทราบหน้าที่ที่เราต้องรับผิดชอบค่ะ ว่าต้องทำอะไรบ้างกับตำแหน่งที่เราเป็นอยู่ค่ะ…ถ้าสงสัยก็ถามมาใหม่นะค่ะ… เพราะกระบวนการในการปรับเปลี่ยนในแต่ละตำแหน่งต้องให้ชัดเจนค่ะ ส่วนราชการสามารถตอบคำถามใครต่อใครได้ ว่า ดำเนินการเปลี่ยนระดับให้กับลูกจ้างประจำได้เพราะเหตุใด ส่วนใหญ่ ก็จะทำการสอบ หรือให้ลูกจ้างประจำปฏิบัติงานให้คณะกรรมการได้ดูหรือตรวจสอบค่ะ…ไม่ใช่ปรับได้โดยอัตโนมัติ…สำหรับพนักงานพิมพ์ ก็ต้องดำเนินการพิมพ์ให้กับคณะกรรมการได้ตรวจสอบ ว่าเป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กระทรวงการคลังกำหนดหรือไม่ค่ะ…
ท่านสามารถศึกษารายละเอียด เรื่อง “การแต่งตั้งลูกจ้างประจำไปดำรงตำแหน่งใหม่” ตามหนังสือกระทรวงการคลัง ที่ กค 0428/ว 83 ลงวันที่ 17 สิงหาคม 2553 ตามบล็อกด้านล่างนี้ค่ะ… เป็นเพราะรัฐปรับปรุงเปลี่ยนแปลงความก้าวหน้า มั่นคงและเพื่อให้เหมาะสมกับสภาพการณ์ปัจจุบันค่ะ…แต่ลูกจ้างประจำก็ต้องมีการพัฒนาตนเองในด้านต่าง ๆ ให้มีคุณภาพเพิ่มมากขึ้นด้วยนะค่ะ…เพื่ออนาคตและความมั่นคงในอาชีพของท่านด้วยค่ะ… ไม่ทราบว่า คุณเป็นลูกจ้างประจำที่ใช้ระเบียบลูกจ้างประจำของส่วนราชการ พ.ศ. 2537 หรือไม่ค่ะ ถ้าใช่ ตำแหน่งคุณ คือ ช่างโลหะแผ่น ชั้น 2 ซึ่ง ไม่มีในมาตรฐานกำหนดตำแหน่งของลูกจ้างประจำนะค่ะ มีแต่ ตำแหน่งช่างโลหะ…
งานการเจ้าหน้าที่ ดูนะค่ะ…เพราะกฎหมายจะใช้คนละฉบับหรือเปล่า ไม่แน่ใจค่ะ…แต่ถ้าเป็นลูกจ้างประจำของส่วนราชการ ก็ใช้ที่บล็อกนี้ค่ะ… ขอให้คุณดูมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง ของตำแหน่งพนักงานการเงินและบัญชีให้ดีนะค่ะ ว่าจะสามารถเติบโตได้ถึงระดับไหน กับเปรียบเทียบว่าถ้าเป็นพนักงานพิมพ์ ระดับ 1 ต่อไป ก็เป็น ระดับ 2,three,4 ซึ่งผู้เขียนขอให้ดูว่าเพดานของค่าจ้าง ตำแหน่งไหนสูงกว่ากันค่ะ ถ้าพอ ๆ กัน ก็ขึ้นอยู่กับคุณตัดสินใจว่าจะไปอยู่ในตำแหน่งไหนค่ะ…แต่พนักงานพิมพ์ เป็นงานที่กว้างกว่าพนักงานการเงินและบัญชีนะค่ะ…ลองศึกษารายละเอียดดูนะค่ะ… สำหรับผู้เขียน ขอฝากลูกจ้างประจำทุกท่าน ในเมื่อสำนักงาน ก.พ. ได้พัฒนาปรับปรุงแก้ไขกลุ่มตำแหน่งให้กับท่านแล้ว ขอให้ท่านได้พัฒนาตนเอง หมั่นฝึกฝนความรู้ความสามารถของตนเองรวมทั้งประสบการณ์ในการทำงาน เพื่อผลงานและความก้าวหน้าของตัวท่าน ต่อหน่วยงาน ต่อประเทศชาติ ตลอดจนถึงอนาคตของท่านและครอบครัวจะได้รับความมั่นคงในบั้นปลายที่ท่านได้เกษียณอายุราชการแล้วค่ะ… สำหรับขั้นค่าจ้างที่เต็มขั้นนั้น คุณไม่สามารถนำมาเทียบกับเพดานที่รัฐเปิดกว้างได้หรอกค่ะ…ต้องค่อยเป็นค่อยไปค่ะ…ค่าจ้างจะเพิ่มต้องอาศัยด้วยเวลา + ผลงานที่ปฏิบัติค่ะ…รัฐขยายเพดาน เพื่อให้ลูกจ้างประจำได้รับเงินในการครองชีพเพื่ออยู่ได้ค่ะ…แต่ทั้งนี้ต้องกำหนดด้วยเงื่อนของผลงานที่เราปฏิบัติให้รัฐ + เวลา ค่ะ… ถ้าตำแหน่งเดิม คือ ตำแหน่งลูกมือช่าง เมื่อเข้าสู่ตำแหน่งใหม่จะเป็นตำแหน่ง ผู้ช่วยช่างทั่วไป รหัส 3912 กลุ่มช่าง ค่ะ…สำหรับตำแหน่งที่คุณบอกมา ตำแหน่งลูกมือช่างซ่อมเครื่องมือแพทย์ นั้น ในตำแหน่งเดิมไม่มีค่ะ…ต้องถามฝ่ายการเจ้าหน้าที่ว่า ตำแหน่งที่ถูกต้องนั้น คือ ตำแหน่งลูกมือช่างใช่หรือไม่ สำหรับซ่อมเครื่องมือแพทย์ เป็นลักษณะงานที่ต้องปฏิบัติใช่หรือไม่…เพราะที่แจ้งมาไม่ละเอียดค่ะ…และไม่มีในมาตรฐานกำหนดตำแหน่งเดิมค่ะ…ถ้าอย่างไรแล้วสอบถามเพิ่มเติมใหม่ได้นะค่ะ…ขอบคุณค่ะ…